มีนาคม 2019

อุปกรณ์จัดเก็บบันทึกข้อมูลจราจรคอมพิวเตอร์ที่ช่วยประเมินความเสี่ยง และเฝ้าระวัง/ป้องกันภัยคุกคามระบบเครือข่ายภายในองค์กร รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ข้อมูลจราจรคอมพิวเตอร์ที่เกิดขึ้นจากการใช้งานบนระบบเครือข่ายองค์กรได้ (Advance Intrusion Detection and Prevention System)

อุปกรณ์ป้องกันและตรวจจับการบุกรุก (Intrusion Prevention System) ภายใต้ชื่อ SRAN เป็นเวลากว่า 15 ปี SRAN ได้รับรางวัลด้านนวัตกรรมมีใบประกาศนียบัตรที่รับรองคุณภาพ

ก่อนหน้านี้ผมได้กล่าวไปแล้วเรากำลังอยู่ในยุคจุดจบ sniffer การดักรับข้อมูลทางระบบเครือข่าย จะไม่สามารถมองเห็นได้ง่ายอีกต่อไป เนื่องจากทุก Application ในอนาคตจะมีการเข้ารหัสผ่าน Protocol ที่ปลอดภัยมากขึ้น

ในเครื่องบินจะมีการบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหากประสบเหตุปัญหาต่างๆที่คาดไม่ถึงจากอุปกรณ์ที่เรียกว่า “กล่องดำ” ซึ่งกล่องดำนี้เองจะเป็นตัวเฉลยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในขณะที่เดินทางอยู่จากจุดเริ่มต้นจนถึงปลายทางว่ามีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นบาง

"ชีวิตที่ทำเพื่อคนอื่น นั้นคือคุณค่าต่อการมีชีวิต" จุดเริ่มต้นของเรื่องนี้มันเกิดขึ้นจาก การก่อตัวประจุไฟฟ้าและคลื่นแม่เหล็กจากอากาศส่งเป็นสัญญาณทางข้อมูลที่ใช้ ความเร็วเท่าแสงวิ่งผ่านสายเคเบิลใต้น้ำและส่งตรงเข้าสู่ภาคพื้นดินผ่านเข้า สู่ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

เรื่อง DDoS/DoS เป็นเรื่องป้องกันยากแต่เราสามารถลดความเสี่ยงได้ ซึ่งทางทีมงานเราได้คิดค้นเทคนิคเรียกว่า SRAN i[n] Block เป็นบริการหนึ่งของบริษัทโกลบอลเทคโนโลยี อินทรีเกรดเทค (www.gbtech.co.th)

ข้อมูลที่นำเสนอต่อไปนี้เป็นการรวบรวมสถิติโดยเฉพาะภัยคุกคามทางโทรคมนาคมและอินเทอร์เน็ตที่เกิดขึ้นในประเทศไทย จึงคิดว่าควรจัดรวบรวมข้อมูลนี้สรุปเป็นรายปี เกิดขึ้นโดยการรวมค่าที่ได้มาจาก ASN (Autonomous System Number)

แฮกเกอร์ได้ขโมยชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านเกือบสองล้านบัญชีของ Facebook, Google, Twitter, Yahoo และอื่น ๆ ตามรายงานที่เผยแพร่เมื่อไม่นานนี้กลุ่มนักวิจัยสามารถเข้าถึงแผงควบคุมของผู้ดูแลระบบ (control panel)

เราเคยเสนอระบบเพื่อให้รู้ทันภัยคุกคามจากการโจมตีบนโลกไซเบอร์ให้กับรัฐบาลไทย เพื่อให้ภาพรวมการโจมตีที่เกิดขึ้นในประเทศไทย เพื่อการป้องกันภัยอย่างยั้งยืน แต่ด้วยว่าเป็นเรื่องที่อธิบายลำบากเนื่องด้วยเป็นภาษาทางเทคนิคจึงทำให้โครงการยังไม่เกิดเป็นชิ้นเป็นอัน